มหกรรมจัดการความรู้ เพื่อจัดการศึกษาในภาคใต้ที่ตอบโจทย์อนาคต“ปลุกพลัง เปลี่ยนการศึกษา เพื่อเด็กทุกคน”
มหกรรมจัดการความรู้ เพื่อจัดการศึกษาในภาคใต้ที่ตอบโจทย์อนาคต“ปลุกพลัง เปลี่ยนการศึกษา เพื่อเด็กทุกคน”
วันเสาร์ที่ 23 ธันวาคม 2566 นี้เชิญชวนทุกคนมาร่วมงาน “ปลุกพลัง เปลี่ยนการศึกษา เพื่อเด็กทุกคน” ในมหกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ โรงเรียนพัฒนาตนเองเครือข่ายมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ครั้งที่ 2 เวลา 09.00 – 15.30 น. ณ ห้อง Conference Hall ศูนย์ประชุมนานาชาติฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา
และถ่ายทอดสดออนไลน์ผ่าน Facebook Live
กิจกรรมภายในงาน
▪️นิทรรศการ จาก 14 โรงเรียน
▪️สถานีการเรียนรู้นำเสนอบทเรียนตัวอย่างที่ดี จำนวน 18 เรื่อง
▪️ผลงานคลิปวิดีโอ นวัตกรรมกรรมการสอน การบริหารจัดการที่ดี การหนุนเสริมการศึกษาโดยชุมชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
▪️การเสวนาทางวิชาการ
เสวนา : การจัดการศึกษาที่ตอบโจทย์อนาคต
เสวนา : เพื่อหาทางออกให้กับการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานโอกาสของการพัฒนาการศึกษาในภาคใต้แบบไล่กวด เพื่อให้ทัดเทียมประเทศเพื่อนบ้าน
ระดมความคิดเห็น “กลยุทธ์การขับเคลื่อนสำหรับขยายผลโรงเรียนพัฒนาตนเองเพื่อเพิ่มคุณภาพนักเรียน"
การอบรม “การสอนเชิงรุกด้วยกระบวนการวิทยาศาสตร์ : ฝึกปฏิบัติ สะท้อน ถอดบทเรียน
การอบรม “สถานการณ์ปัญหาสุขภาพจิตของคนทุกช่วงวัยและครู ที่ต้องได้รับการดูแล” แลกเปลี่ยนความคิดเห็น “บทบาทขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการเสริมสร้างสุขภาพทุกช่วงวัย”
08.30-08.50 น.ลงทะเบียน
09.00-09.05 น.
▪ กล่าวต้อนรับ โดย ผศ.ดร.นิเวศน์ อรุณเบิกฟ้า ผอ.สำนักพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และพันธกิจสังคม ม.อ.
▪ กล่าวรายงาน โดย ผศ.ดร.จุมพล ชื่นจิตต์ศิริ รองอธิการบดีฝ่ายกฎหมายและบริการวิชาการ ม.อ.
09.00 - 09.15 น.
▪ เปิดประชุม โดย นายสมนึก พรหมเขียว ผู้ว่าราชการจังหวัดสงขลา
09.15-11.15 น.
▪ เสวนาการจัดการศึกษาที่ตอบโจทย์อนาคต
ผู้ร่วมเสวนา
1.นายยะกล บู่สะเม๊าะ ผู้นำชุมชนบ้านปากบาง ต.สะกอม อ.จะนะ จ.สงขลา
2.นางหามีด๊ะ บู่สาเม๊าะ ผู้นำชุมชนบ้านปากบาง ต.สะกอม อ.จะนะ จ.สงขลา
3.รศ.ไพโรจน์ คีรีรัตน์ โค้ชกระบวนฐานวิจัย ม.อ.
4.ครูเชาวลี ทองสุข หัวหน้าฝ่ายบริหารงานวิชาการ โรงเรียนวัดพังยอม จ.นครศรีธรรมราช
5.ดร.อุดม วงษ์สิงห์ ผู้อำนวยการสำนักพัฒนาคุณภาพครูและสถานศึกษา กสศ.
ดำเนินการเสวนา โดย ฐปณีย์ เอียดศรีไชย
11.15-11.30 น.
▪ตอบคำถามและประเด็นแลกเปลี่ยนจากผู้ฟัง
ผู้ร่วมแลกเปลี่ยน
1.ดร.สินธพ อินทรัตน์ นายกองค์การบริหารส่วนตำบลท่าข้าม อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา
2.นายสุริยา ยีขุน นายกเทศมนตรีตำบลปริก อ.สะเดา จ.สงขลา
3.ดร.ศกลวรรณ สุขมี ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านปากบาง อ.จะนะ จ.สงขลา
11.30-12.00 น.
▪ แนวทางพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐานในภาคใต้เพื่อไล่กวดประเทศเพื่อนบ้าน โดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช ประธานคณะอนุกรรมการพพัฒนาคุณภาพโรงเรียนทั้งระบบ กสศ.
13.00-15.30 น.
ห้องย่อยที่ 1 : ระดมความคิดเห็น “กลยุทธ์การขับเคลื่อนสำหรับขยายผลโรงเรียนพัฒนาตนเองเพื่อเพิ่มคุณภาพนักเรียน"
•บรรยายพิเศษบทบาทมหาวิทยาลัยกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ผศ.ดร.นิวัติ แก้วประดับ อธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
•เล่าประสบการณ์ : โมเดลการขับเคลื่อนการพัฒนาโรงเรียนจาก 3 พื้นที่ โดย
1.นายศังกร รักชูชื่น ผอ.สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา สงขลา เขต 3
2.ดร.สุธิภรณ์ ขนอม ผอ.สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นราธิวาส เขต 2
3.นางพนารัตน์ หาญมานพ รองผอ.สำนักงานเขตพื้นที่ประถมศึกษานครศรีธรรมราช 3
•ระดมความคิดเพื่อออกแบบโมเดลการขับเคลื่อนพัฒนาโรงเรียน
▪ดำเนินกระบวนการ โดย รศ.ไพโรจน์ คีรีรัตน์ ทีมโค้ช และ ศึกษานิเทศน์
▪ดำเนินรายการ โดย จารุพรรณ มียิ้ม สำนักพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และพันธกิจสังคม ม.อ.
▪ห้องย่อยที่ 2 : การเสวนา เพื่อหาทางออกให้กับการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานโอกาสของการพัฒนาการศึกษาในภาคใต้แบบไล่กวด เพื่อให้ทัดเทียมประเทศเพื่อนบ้าน
ผู้ร่วมเสวนา
1.ผศ.ดร.พงค์เทพ สุธีรวุฒิ รองอธิการบดีฝ่ายบริหารและยุทธศาสตร์ ม.อ.
2.ผศ.ดร.ชวลิต เกิดทิพย์ คณะศึกษาศาสตร์ ม.อ. ปัตตานี
3.อาจารย์ ดร.วรลักษณ์ ชูกำเนิด คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ
4.นายสมนึก พรหมเขียว ผู้ว่าราชการจังหวัดสงขลา
5.นายชัยวุฒิ บุญวิวัฒนาการ กรรมการมูลนิธิชุมชนสงขลา
6.นายสุริยา ยีขุน นายกเทศมนตรีตำบลปริก อ.สะเดา จ.สงขลา
▪ดำเนินกระบวนการ โดย ผศ.ดร.นิเวศน์ อรุณเบิกฟ้า ผอ.สำนักพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และพันธกิจสงคม ม.อ.
▪ดำเนินรายการโดย เมตตา ชุมอินทร์ สำนักพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และพันธกิจสังคม ม.อ.
▪ ห้องย่อยที่ 3 : การเผยแพร่ความรู้โครงการโรงเรียนพัฒนาตนเอง อบรม “การสอนเชิงรุกด้วยกระบวนการวิทยาศาสตร์ : ฝึกปฏิบัติ สะท้อน ถอดบทเรียน
ดำเนินกระบวนการ โดย ผศ.อัมพร ศรประสิทธิ์ โค้ชกระบวนการวิทยาศาสตร์ ม.อ.
ดำเนินรายการ โดย อ.อาทิตยา ศรประสิทธิ์ โค้ช ม.อ.
ห้องย่อยที่ 4 : เสวนาเพื่อหนุนเสริมการดูแลช่วยเหลือเด็ก “อนาคตเด็กไทยในมือท้องถิ่น : บทบาทหนุนเสริม บูรณาการงาน และเรียนรู้ร่วมกัน”
ผู้ร่วมเสวนา
1.นายเศรษฐ์ อัลยุฟรี นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดปัตตานี
2.ดร.องอาจ หนูทองแก้ว นายกองค์การบริหารส่วนตำบลสวนหลวง เฉลิมพระเกียรติ จ.นครศรีธรรมราช
3.นายศุภชัย ชูเกิด นายกองค์การบริหารส่วนตำบลนาหมอบุญ อ.จุฬาภรณ์ จ.นครศรีธรรมราช
4.รศ.ดร.วิชัย กาญจนสุวรรณ รองนายกเทศมนตรีนครหาดใหญ่
ดำเนินรายการ โดย ดร.สิริวิท อิสโร นักวิชาการด้านรัฐประศาสนศาสตร์ คณะวิทยาการจัดการ ม.อ.
▪ห้องย่อยที่ 5 : การอบรม “สถานการณ์ปัญหาสุขภาพจิตของคนทุกช่วงวัยและ ครู ที่ต้องได้รับการดูแล” แลกเปลี่ยนความคิดเห็น “บทบาทขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการเสริมสร้างสุขภาพทุกช่วงวัย”
วิทยากร
1.รศ.พญ.ชนกานต์ ชัชวาลา ภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ ม.อ.
2.พงศ์ธร จันทรัศมี ผู้จัดการมูลนิธิสาธารณสุขแห่งชาติ
ดำเนินกระบวนการและดำเนินรายการ โดย นางสาวรอฮานี ดาโอ๊ะ ประธานองค์กร NM-Mind (หัวใจดวงใหม่)
สามารถติดตามรับชมถ่ายทอดสดได้ทาง Facebook Live : เพจ กสศ. กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา และ เพจ I AM KRU สังคมสร้างสรรค์ของคนสอน
สนับสนุนโดย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ กสศ. มูลนิธิสยามกัมมาจล สสส. และ มูลนิธิสาธารณสุขแห่งชาติ
ขอบคุณข้อมูลจากเพจ สำนักพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และพันธกิจสังคม - OMS
Relate topics
- สท.-สนง.เกษตรสงขลา จัดเวทีถอดบทเรียนยกระดับเครือข่ายเกษตรกรผลิตผักอินทรีย์ด้วยเทคโนโลยี
- กขป.12 ประชุมสรรหากรรมการเขตสุขภาพเพื่อประชาชนที่มีวาระการดำรงตำแหน่งตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2568 - 2572
- จังหวะก้าวสำคัญ 3 เคลื่อนเพื่อพัทลุง
- “กขป.เขต 12 จัดเวทีเสนอแนะเชิงนโยบาย ชี้ปัญหาเร่งด่วนและข้อเสนอความร่วมมือโดยใช้เทคโนโลยี และทุนทางพหุวัฒนธรรมลดความเปราะบางของครอบครัว”
- บพท. และ ม.อ.ปัตตานี จับมือ พอช. พร้อมบูรณาการความร่วมมือทุกภาคส่วนเพื่อร่วมพัฒนาตำบลแก้จนนำร่องในพื้นที่เมืองปัตตานี
- System Map และ ข้อเสนอเชิงนโยบาย 4 ประเด็นยุทธศาสตร์ (เครือข่าย กขป.เขต 12)
- การรับมือการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศต่อความมั่นคงทางอาหาร
- ตำบลพุมเรียง ชูผักไชยา และปลาอินทรีย์ ปั้นเมนูสุขภาพกินดี อยู่ดี ลด NCDs ที่พุมเรียง
- ต้นทุนเพื่อการพัฒนา จากทีมสนับสนุนชุมชนน่าอยู่เล็ก ๆ สู่โมเดลสุขภาวะชุมชนภาคใต้
- คสช.รับทราบผลการขับเคลื่อนนโยบายปกป้องและคุ้มครองเด็ก-เยาวชนจาก “บุหรี่ไฟฟ้า” ของ สช.-หน่วยงานภาคี