อบจ.สงขลาหนุนเสริมการจัดอบรมหลักสูตรผู้ตรวจแปลงมาตรฐานเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม SDGsPGS ครั้งที่ 3/2567
"สงขลามหานครเกษตรอินทรีย์"
อบจ.สงขลาหนุนเสริมการจัดอบรมหลักสูตรผู้ตรวจแปลงมาตรฐานเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม SDGsPGS ครั้งที่ 3/2567
Wrap up : การอบรมวันที่ 1
-เวทีการสร้างกระบวนทัศน์ของการพัฒนาเกษตรอินทรีย์ร่วมกันในระดับพื้นที่ (Workshop การมีส่วนร่วม)
-Workshop ระดมความคิด แกเปลี่ยน เรื่อง ปัจจัยความสำเร็จของการก้าวสู่สงขลามหานครเกษตรอินทรีย์ ผ่าน เครื่องมือ วิเคราะห์ชุมชน
-ความรู้การพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) และเกษตรอินทรีย์ไทย
-Roadmap สัมมาชีพชุมชน กับการเรียนรู้และการมีส่วนร่วม
-ผู้นำการเปลี่ยนแปลง (Change Agent) กับระบบ PGS กับความสัมพันธ์แนวราบ
-SDGsPGS
-กลไก ในระบบห่วงโซ่ ต้นน้ำ กลางน้ำ ปลายน้ำ และกลไกการตลาดเกษตรอินทรีย์
-ข้อกำหนดมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ (Workshop แลกเปลี่ยน และการมีส่วนร่วม)
-การจัดการฐานข้อมูลเกษตรกร และแปลงอินทรีย์ในเบื้องต้น (Farm management online) ด้วย Platform และการสร้าง QR Code เชื่อมโยง Supply-Demand
-แบ่งกลุ่ม 3 กลุ่ม เตรียมลงพื้นที่ 5 แปลง โดย เป็น Case Study 5 รูปแบบ (สวนผสมผสาน สวนผัก/ผักยกแคร่ สวนผลไม้)
เรียนรู้ไปด้วยกันกับเรา กองส่งเสริมการเกษตร อบจ. สงขลา สมาพันธ์เกษตรกรรมยั่งยืนสงขลา และ ศูนย์เรียนรู้กสิกรรมไทยบ้านภูลิตา
ขอบคุณข้อมูลจาก คุณสนธิกาญจน์ วิโสจสงคราม
Relate topics
- ประชุมเตรียมงานเวทีโชว์แชร์เชื่อม บุหรี่ไฟฟ้า ระดับภาคใต้
- สท.-สนง.เกษตรสงขลา จัดเวทีถอดบทเรียนยกระดับเครือข่ายเกษตรกรผลิตผักอินทรีย์ด้วยเทคโนโลยี
- กขป.12 ประชุมสรรหากรรมการเขตสุขภาพเพื่อประชาชนที่มีวาระการดำรงตำแหน่งตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2568 - 2572
- จังหวะก้าวสำคัญ 3 เคลื่อนเพื่อพัทลุง
- “กขป.เขต 12 จัดเวทีเสนอแนะเชิงนโยบาย ชี้ปัญหาเร่งด่วนและข้อเสนอความร่วมมือโดยใช้เทคโนโลยี และทุนทางพหุวัฒนธรรมลดความเปราะบางของครอบครัว”
- บพท. และ ม.อ.ปัตตานี จับมือ พอช. พร้อมบูรณาการความร่วมมือทุกภาคส่วนเพื่อร่วมพัฒนาตำบลแก้จนนำร่องในพื้นที่เมืองปัตตานี
- System Map และ ข้อเสนอเชิงนโยบาย 4 ประเด็นยุทธศาสตร์ (เครือข่าย กขป.เขต 12)
- การรับมือการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศต่อความมั่นคงทางอาหาร
- ตำบลพุมเรียง ชูผักไชยา และปลาอินทรีย์ ปั้นเมนูสุขภาพกินดี อยู่ดี ลด NCDs ที่พุมเรียง
- ต้นทุนเพื่อการพัฒนา จากทีมสนับสนุนชุมชนน่าอยู่เล็ก ๆ สู่โมเดลสุขภาวะชุมชนภาคใต้