ประชุมพัฒนาโครงการความมั่นคงทางอาหาร "ข้าวตรังหรอยจังหู้"
ประชุมพัฒนาโครงการความมั่นคงทางอาหาร "ข้าวตรังหรอยจังหู้"
วันที่ 29 เมษายน 2565 ณ ห้องประชุม 116 วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีตรัง สมัชชาสุขภาพจังหวัดตรัง และหน่วยจัดการระดับจังหวัดที่มีจุดเน้นสำคัญ(Node Flagship) ตรัง
ชวนเกษตกรทำข้าวนา&ข้าวไร่ ต.นาพละ อ.เมือง ต.นาข้าวเสีย อ.นาโยง ต.แหลมสอมและต.ปะเหลียนใน อ.ปะเหลียน ต.บางดี และ ต.นาวง ต.เขากอบ ต.ห้วยนาง อ.ห้วยยอด ต.เขาไพร อ.รัษฎา ต.บางสัก อ.กันตัง รวม 10 ตำบล 6 อำเภอ
พัฒนาโครงการ โดยมีภาคียุทธศาสตร์ได้แก่ ชนิตา บุรีรักษ์ สนง.เกษตรและสหกรณ์ สุมนรัตน์ ตรึกตรอง สนง.เกษตรจังหวัด สนง.เกษตร อ.ห้วยยอด สนง.เกษตร อ.เมือง สนง.เกษตร อ.กันตัง สนง.พาณิชย์ ชัยวุฒิ สวัสดิรักษ์ สภาอุตสาหกรรม Chet Nillaor คณะพาณิชย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตตรัง และกองสาธารณสุข องค์การบริหารส่วนจังหวัดตรัง ร่วมเป็นทีมวิชาการและวิชาชีพ และนายทวี สัตยาไชย ผู้ทรงคุณวุฒิที่ปรึกษาโหนดเฟลกชิพตรัง และนายสำราญ สมาธิ ครู ร.ร.ต้นบากราษฏร์บำรุง และนางสาวพิมพ์ประกาย ศรีไตรรัตน์ ผอ.ร.ร.บ้านทุ่งยาว ร่วมเป็นทีมพี่เลี้ยงชุมชน "คนตรัง กินข้าวตรัง"
ตรังปัจจุบัน ผลิตข้าวเพื่อบริโภคได้เพียง 5 เปอร์เซ็นต์ พื้นที่นาในอดีตมีกว่า แสนไร่ ปัจจุบันเหลือหมื่นกว่าไร่ แต่โอกาสคือ ในแต่ละปี จะมีเกษตรล้มยางเพื่อปลูกใหม่ กว่า 2 หมื่นไร่
นัดหมายส่งโครงการ 13 พฤษภาคม 2565
ทั้งนี้ พื้นที่หนองบัว ลาประชุม ด้วยเสี่ยงโควิด สภาองค์การชุมชนตำบล ติดภารกิจ
#ตรังเมืองคุณภาพชีวิตที่ดีและยั่งยืน
นางสุวณี สมาธิ โหนดเฟลกชิพตรัง รายงาน
Relate topics
- ประชุมเตรียมงานเวทีโชว์แชร์เชื่อม บุหรี่ไฟฟ้า ระดับภาคใต้
- สท.-สนง.เกษตรสงขลา จัดเวทีถอดบทเรียนยกระดับเครือข่ายเกษตรกรผลิตผักอินทรีย์ด้วยเทคโนโลยี
- กขป.12 ประชุมสรรหากรรมการเขตสุขภาพเพื่อประชาชนที่มีวาระการดำรงตำแหน่งตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2568 - 2572
- จังหวะก้าวสำคัญ 3 เคลื่อนเพื่อพัทลุง
- “กขป.เขต 12 จัดเวทีเสนอแนะเชิงนโยบาย ชี้ปัญหาเร่งด่วนและข้อเสนอความร่วมมือโดยใช้เทคโนโลยี และทุนทางพหุวัฒนธรรมลดความเปราะบางของครอบครัว”
- บพท. และ ม.อ.ปัตตานี จับมือ พอช. พร้อมบูรณาการความร่วมมือทุกภาคส่วนเพื่อร่วมพัฒนาตำบลแก้จนนำร่องในพื้นที่เมืองปัตตานี
- System Map และ ข้อเสนอเชิงนโยบาย 4 ประเด็นยุทธศาสตร์ (เครือข่าย กขป.เขต 12)
- การรับมือการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศต่อความมั่นคงทางอาหาร
- ตำบลพุมเรียง ชูผักไชยา และปลาอินทรีย์ ปั้นเมนูสุขภาพกินดี อยู่ดี ลด NCDs ที่พุมเรียง
- ต้นทุนเพื่อการพัฒนา จากทีมสนับสนุนชุมชนน่าอยู่เล็ก ๆ สู่โมเดลสุขภาวะชุมชนภาคใต้